สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

สาระที่ ๔   หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน  ท ๔.    เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย  การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา  ภูมิปัญญาทางภาษา  

                                    และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ 

ตัวชี้วัด

ผู้เรียนรู้อะไร

ผู้เรียนทำอะไรได้

 กิจกรรมเพิ่มเติม

๑. สร้างคำในภาษาไทย


( ONET 60 )

การสร้างคำในภาษาไทยทำให้มีคำในภาษาใช้มากขึ้น การสร้างคำสมาส เป็นการนำภาษาบาลีหรือสันสกฤตสองคำขึ้นไปมารวมกันเพื่อให้เกิดคำใหม่ ที่มีความหมายแตกต่างจากเดิม

บอกลักษณะของคำสมาสและนำไปใช้ได้ถูกต้องตรงความหมาย

 การสร้างคำ คำประสม คำซ้ำ คำซ้อน ตอน 1

การสร้างคำ คำประสม คำซ้ำ คำซ้อน ตอน 2

คำสมาสและคำสมาสแบบสนธิ ตอน 1

คำสมาสและคำสมาสแบบสนธิ ตอน 2

หลักการสังเกต คำบาลี สันสกฤษ

๒. วิเคราะห์โครงสร้าง  ประโยคสามัญ ประโยครวม   และประโยคซ้อน

( ONET 60 )

การสร้างประโยคในภาษาไทยมีทั้งประโยคระดับพื้นฐานหรือประโยคความเดียว 

 และประโยคที่นำมารวมกัน

หรือซ้อนกันห้สละสลวยต่อเนื่องและสื่อสารได้ชัดเจนมากขึ้น

วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อนได้

 

ชนิดของประโยค

การสร้างประโยคในภาษาไทย

๓. แต่งบทร้อยกรอง

การแต่งบทร้อยกรองเป็นการเลือกใช้คำ ข้อความที่สละสลวย ในการถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและจินตนาการให้มีการสัมผัสคำ สัมผัสความ ถูกต้องตามฉันทลักษณ์

แต่งกลอนสุภาพได้

 การแต่งบทร้อยกรอง(กลอนสุภาพ)

 กาพย์

โคลงสี่สุภาพ

บทร้อยกรอง


๔. ใช้คำราชาศัพท์

หลักการใช้คำราชาศัพท์กับบุคคลแต่ละระดับ

ใช้คำราชาศัพท์ได้ถูกต้องเหมาะสมกับฐานะของบุคคล

 คำราชาศัพท์ 
 คำราชาศัพท์ ๒

๕. รวบรวมและอธิบายความหมายของคำภาษาต่างประเทศ

     ที่ใช้ในภาษาไทย

รู้จักคำและความหมายของคำภาษาต่างประเทศ

 

รวบรวมและอธิบายความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยได้

 คำบาลี คำสันสกฤต

คำบาลี สันสกฤต (ตื่นมาติว )


ภาษาต่างประเทศ